Tagged: ทนายความคดีลักทรัพย์

ปรึกษากฎหมาย-ลักทรัพย์-ทนายความ 6

ทนายความคดีลักทรัพย์ ปรึกษากฎหมาย

คำพิพากษาฎีกา ลักทรัพย์  

     ความรับผิดในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์

–          & ผู้ร่วมกระทำผิดในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ อันเป็นการได้ทรัพย์นั้น ไม่ต้องรับผิดฐานรับของโจรอีก

–       & บางกรณี อาจเข้าลักษณะเป็นความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ 2 ข้อหาได้ เช่น ? ผู้ต้องหา K เอาทรัพย์ที่รับฝากไว้จากบุคคลหนึ่ง  ไปหลอกขายให้แก่อีกบุคคลหนึ่ง ‚ = ผู้ต้องหา K ยักยอกทรัพย์  และฉ้อโกง ‚

–       คำพิพากษาฎีกาที่ 199/2494 ฟ้องข้อ 1 หาว่าจำเลยหลอกลวงฉ้อโกงเอาทรัพย์ไปข้อ 2 ว่า เมื่อได้ทรัพย์ไป แล้วจำเลยก็ยักยอกเอาทรัพย์นั้นเสีย ดังนี้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ หาว่าจำเลยยักยอกเอาทรัพย์ที่จำเลยฉ้อโกงไปนั้นเอง จึงไม่เป็นความผิดฐานยักยอก ฉะนั้นต้องถือว่า ฟ้องเช่นนี้เป็นฟ้องหาว่าจำเลยทำผิดฐานฉ้อโกงฐานเดียว / ฟ้องฎีกาของโจทก์ชี้แจงข้อเท็จจริงไปในทางความผิดฐานยักยอกและในฎีกาก็แสดงความประสงค์ขอให้ลงโทษจำเลยฐานยักยอก เมื่อคำบรรยายฟ้องของโจทก์ไม่เป็นความผิดฐานยักยอกแล้ว คดีก็ไม่มีทางลงโทษจำเลยฐานยักยอกตามที่โจทก์ฎีกาได้

ปรึกษาทนาย-คดีลักทรัพย์-คดีฉ้อโกง-รับของโจร-ฟ้องคดี 2

ทนายความคดีลักทรัพย์คดีฉ้อโกง

-ประเด็นเปรียบเทียบ ความผิด ฐานลักทรัพย์ กับฐานฉ้อโกง

?

–          1.1. ความผิดฐานลักทรัพย์(โดยวิธีใช้อุบาย) เป็นการใช้อุบายเพื่อหลอกเอาการยึดถือ

–          1.2. ส่วนความผิดฐานฉ้อโกงเป็นการใช้อุบายหลอกลวงเพื่อให้ได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นโดยไม่ได้หลอกเอาการยึดถือ

–          ตามความเห็นนี้ การหลอกให้คนใช้มอบทรัพย์ให้โดยหลอกว่าเจ้านายบอกให้มาเอาทรัพย์ กรณีนี้คนใช้เพียงเเต่ยึดถือทรัพย์เเทนเจ้านาย การครองครองทรัพย์ยังอยู่กับเจ้านายหลอกเอาทรัพย์นั้นมาอยู่ในการยึดถือของตนซึ่งอ้างว่ามีอำนาจยึดถือเเทนเจ้าทรัพย์เพราะใช้อุบายหลอกว่าเจ้านายให้มาเอา กรณีนี้เป็นการหลอกเอาการยึดถือก่อน เเละเมื่อเอาทรัพย์นั้นไป ในลักษณะ ตัดกรรมสิทธิ์ ย่อมเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ ไม่ผิดฐานฉ้อโกงเพราะในขณะที่หลอกลวงนั้นการครอบครองทรัพย์ยังอยู่กับเจ้านาย(ซึ่งเป็นเจ้าของทรัพย์)คนใช้เพียงเเต่ยึดถือเเทน จะเห็นได้ว่าตามเเนวความเห็นนี้เมื่อดูฎีกา จะไม่สามารถนำมาพิจารณาได้ทุกกรณี ซึ่งไม่น่าจะเป็นหลักตายตัว เเละยังไม่ชัดเจน โดยพิจารณาหลักเกณฑ์ในด้านผู้เสียหายเป็นสำคัญ แทนที่จะพิจารณาจากการกระทำของจำเลย (ฎ 1563/03(ป),321/10,611/30,3245/45)

ปรึกษาทนาย-คดียักยอกทรัพย์-ทนายความ- 1

ปรึกษาทนายคดีลักทรัพย์กับคดียักยอกทรัพย์

-คำพิพากษาฎีกา เปรียบเทียบลักทรัพย์กับยักยอกทรัพย์

 

–          1.1. ความผิดฐานลักทรัพย์(โดยวิธีใช้อุบาย) เป็นการใช้อุบายเพื่อหลอกเอาการยึดถือ

–          1.2. ส่วนความผิดฐานฉ้อโกงเป็นการใช้อุบายหลอกลวงเพื่อให้ได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นโดยไม่ได้หลอกเอาการยึดถือ

–          ตามความเห็นนี้ การหลอกให้คนใช้มอบทรัพย์ให้โดยหลอกว่าเจ้านายบอกให้มาเอาทรัพย์ กรณีนี้คนใช้เพียงเเต่ยึดถือทรัพย์เเทนเจ้านาย การครองครองทรัพย์ยังอยู่กับเจ้านายหลอกเอาทรัพย์นั้นมาอยู่ในการยึดถือของตนซึ่งอ้างว่ามีอำนาจยึดถือเเทนเจ้าทรัพย์เพราะใช้อุบายหลอกว่าเจ้านายให้มาเอา กรณีนี้เป็นการหลอกเอาการยึดถือก่อน เเละเมื่อเอาทรัพย์นั้นไป ในลักษณะ ตัดกรรมสิทธิ์ ย่อมเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ ไม่ผิดฐานฉ้อโกงเพราะในขณะที่หลอกลวงนั้นการครอบครองทรัพย์ยังอยู่กับเจ้านาย(ซึ่งเป็นเจ้าของทรัพย์)คนใช้เพียงเเต่ยึดถือเเทน จะเห็นได้ว่าตามเเนวความเห็นนี้เมื่อดูฎีกา จะไม่สามารถนำมาพิจารณาได้ทุกกรณี ซึ่งไม่น่าจะเป็นหลักตายตัว เเละยังไม่ชัดเจน โดยพิจารณาหลักเกณฑ์ในด้านผู้เสียหายเป็นสำคัญ แทนที่จะพิจารณาจากการกระทำของจำเลย (ฎ 1563/03(ป),321/10,611/30,3245/45)

Don`t copy text!