ทนายความคดีหมิ่นประมาท-ปรึกษากฎหมาย

ปรึกษาทนายความคดีหมิ่นประมาท

ปรึกษาทนายความคดีหมิ่นประมาท

ทนายความช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อนจากการถูกหมิ่นประมาท ถูกใส่ร้าย ป้ายสี ไม่ว่า ด้วยวาจา หรือ ลูกความได้รับความเดือดร้อนจากการ โพสเฟสบุ๊คของผู้อื่นทำให้ได้รับความเสียหาย หรือมีข้อความเสียงส่อเสียด ถูกใส่ร้าย ถูกปรักปรำ สามารถโทรปรึกษาทนายเพื่อจัดรูปคดีและฟ้องคดีได้

หรือลูกความได้รับความเดือดร้อน จากการถูกแจ้งความข้อหาหมิ่นประมาท ถูกใส่ร้าย ปรึกษาทนายเพื่อสู้คดี ทำคำให้การ

โทรหาผม ทนายพัตร์

Tel : %e0%b9%80%e0%b8%9a%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b9%82%e0%b8%97%e0%b8%a3-%e0%b8%97%e0%b8%99%e0%b8%b2%e0%b8%a2%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b9%8c

หมิ่นประมาท
คำหมิ่นประมาท คือ คำพูด การพูดเป็นเรื่องเป็นราว การใส่ความ ใส่ร้ายผู้อื่นหรือพูดถึงผู้อื่นในทางที่ **ไม่จริง หรือแม้แต่ความจริง ถ้าพูดแล้วทำให้**เค้าเสียหายก็ผิด แม้จะเป็นจริงก็ถือว่ามีความผิด ถ้อยคำที่เป็นการยืนยันข้อเท็จจริง

คำหมิ่นประมาท :ไม่เป็นคำหยาบคาย แต่เป็น “คำใส่ความ” ที่ลดคุณค่าทางสังคมของผู้ถูกหมิ่นประมาทลง เช่น
“รับเงินใต้โต๊ะ” : พูดใส่ความให้ถูกมองว่าเป็นคนทุจริต
“เป็นกระหรี่” : หญิงโสเภณีหรือค้าประเวณี (คำพิพากษาศาลฎีกา 2371/2522)
“พระวัดนี้เลวมากดุหนังบ้าง บ้าผู้หญิงบ้าง” (คำพิพากษาศาลฎีกา 448/2489)
“คนจัญไร” : เลวทราม เป็นเสนียด ไม่มงคล เป็นการหลบหลู่เหยียดหยาม (คำพิพากษาศาลฎีกา 7301/2559)
“อีเฒ่าหัวหงอก”… “มึง”… : เป็นสรรพนามเรียกคน แต่เปรียบเปรยไปในทางไม่ให้ความเคารพ อับอาย ถูกเหยียดหยาม (คำพิพากษาศาลฎีกา 8752/2558)

ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ม.326-328)
พูดใส่ความผู้อื่น “ต่อบุคคลที่ 3” ทำให้ผู้อื่น เสียชื่อเสียง/ถูกดูหมิ่น/ถูกเกลียดชัง
พูดใส่ความคนตาย “ต่อบุคคลที่ 3” ทำให้พ่อ/แม่/ลูก/คู่สมรสของคนตาย เสียชื่อเสียง/ถูกดูหมิ่น/ถูกเกลียดชัง : จำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
พูดใส่ความ “ด้วยการโฆษณา” ด้วยเอกสาร/ภาพวาด/ภาพระบายสี/ภาพยนต์/ภาพ/ตัวอักษร: จำคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท
ที่มาคำพิพากษาฎีกา

author avatar
PongrapatLawfirm