คดีหมิ่นประมาท คือ? หลักการฟ้อง อายุความ และโทษหมิ่นประมาท
การใส่ความกันบนโลกออนไลน์ การแขวน ดูถูก ดูหมิ่น การกล่า […]
การใส่ความกันบนโลกออนไลน์ การแขวน ดูถูก ดูหมิ่น การกล่า […]
โจทก์และจำเลยทั้งสองได้รับโอนมรดกที่ดินพิพาท เมื่อออกโฉ […]
ลักษณะ ๗ ความผิดเกี่ยวกับการปลอมและการแปลง หมวด ๓ ความผ […]
ในการปรึกษากฎหมายคดีแรงงานนั้น กรณี “” _ มี […]
“ฉ้อโกง” กับ “ผิดสัญญาทางแพ่ง” แตกต่างกันอย่างไร ? คำว่ […]
ปรึกษาทนายความคดีกรรโชกทรัพย์ ท่านได้รับความเดือดร้อน ท […]
- คำพิพากษาฎีกาที่ 136/2515 (วรสารอัยการ ก.ย. 34 หน้า 133) การที่ชายร่วมประเวณีกับหญิง โดยต่างยินยอมพร้อมใจ แม้หญิงจะถึงแก่ความตาย โดยชายมิได้คาดคิด จึงไม่มีเจตนาฆ่า หรือทำร้ายร่างกาย / (พนักงานอัยการ กรมอัยการ โจทก์ จ่าโทแอนดรู โรเบิร์ททูมส์ จำเลย) จำเลยไม่มีเจตนาฆ่าผู้ตาย เจตนาที่แท้จริงของจำเลย ก็เพื่อจะร่วมประเวณีกับผู้ตายเท่านั้น แต่เนื่องจากการร่วมประเวณีเป็นเหตุให้ผู้ตายถึงแก่ความตาย โดยขณะที่จำเลยกับผู้ตายกำลังร่วมประเวณีกัน เป็นครั้งที่ 2 จำเลยกับผู้ตายได้กอดรัดกันแรงกว่าครั้งแรก เพราะความสนุก และอาจเป็นไปได้ที่มือจำเลยบังเอิญไปถูกที่คอผู้ตาย โดยเฉพาะตอนที่ว่าใช้มือช้อนคอขึ้นจูบหน้า เมื่อใกล้จะสำเร็จความใคร่นั้น นิ้วมือของจำเลยไปกดถูกที่เส้นเลือดเลี้ยงสมองโดยไม่รู้ตัว ซึ่งเป็นการกดอย่างไม่แรงด้วย ประกอบกับผู้ตายมีสุขภาพไม่ดี เคยแท้งลูก เป็นลมและเวียนศีรษะเป็นประจำ ด้วยเหตุเหล่านี้เอง ที่เป็นเหตุให้ผู้ตายถึงแก่ความตาย และจำเลยกระทำกับผู้ตาย เมื่อใกล้จะสำเร็จความใคร่ ด้วยความยินยอมพร้อมใจ และสนุกด้วยกันทั้งสองฝ่าย โดยไม่อาจคาดคิดได้เลยว่า จะเป็นเหตุให้ถึงแก่ความตาย จึงเห็นว่าจำเลยมิได้มีเจตนาฆ่าผู้ตาย หรือแม้แต่เจตนาทำร้ายร่างกาย อันจะเป็นความผิดฐานฆ่าคนโดยไม่เจตนาแต่อย่างไร
- 1.1. ความผิดฐานลักทรัพย์(โดยวิธีใช้อุบาย) เป็นการใช้อุบายเพื่อหลอกเอาการยึดถือ
- 1.2. ส่วนความผิดฐานฉ้อโกงเป็นการใช้อุบายหลอกลวงเพื่อให้ได้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์นั้นโดยไม่ได้หลอกเอาการยึดถือ
- ตามความเห็นนี้ การหลอกให้คนใช้มอบทรัพย์ให้โดยหลอกว่าเจ้านายบอกให้มาเอาทรัพย์ กรณีนี้คนใช้เพียงเเต่ยึดถือทรัพย์เเทนเจ้านาย การครองครองทรัพย์ยังอยู่กับเจ้านายหลอกเอาทรัพย์นั้นมาอยู่ในการยึดถือของตนซึ่งอ้างว่ามีอำนาจยึดถือเเทนเจ้าทรัพย์เพราะใช้อุบายหลอกว่าเจ้านายให้มาเอา กรณีนี้เป็นการหลอกเอาการยึดถือก่อน เเละเมื่อเอาทรัพย์นั้นไป ในลักษณะ ตัดกรรมสิทธิ์ ย่อมเป็นความผิดฐานลักทรัพย์ ไม่ผิดฐานฉ้อโกงเพราะในขณะที่หลอกลวงนั้นการครอบครองทรัพย์ยังอยู่กับเจ้านาย(ซึ่งเป็นเจ้าของทรัพย์)คนใช้เพียงเเต่ยึดถือเเทน จะเห็นได้ว่าตามเเนวความเห็นนี้เมื่อดูฎีกา จะไม่สามารถนำมาพิจารณาได้ทุกกรณี ซึ่งไม่น่าจะเป็นหลักตายตัว เเละยังไม่ชัดเจน โดยพิจารณาหลักเกณฑ์ในด้านผู้เสียหายเป็นสำคัญ แทนที่จะพิจารณาจากการกระทำของจำเลย (ฎ 1563/03(ป),321/10,611/30,3245/45)
ทนายความคดีบุกรุก แนวทางทนายปรึกษาเพื่อสู้คดีเบื้องต้น […]
ปรึกษาทนายความบ้านถูกยึด บังคับคดี ลูกความทุกข์ร้อน ทาง […]
ปรึกษาทนายคดีกู้ยืมเงิน ลูกความมีปัญหาคดีกู้ยืมเงิน ถูก […]
ปรึกษาทนาย ผิดสัญญาหมั้น เรียกค่าทดแทน สินสอด ลูกความสา […]
ปรึกษาทนายความคดีหมิ่นประมาท ทนายความช่วยเหลือผู้ที่เดื […]
ปรึกษาทนายการรับประกันตัวผู้ต้องหา จำเลย ปรึกษากฎหมายก […]
ยื่นฎีกาคดีอาญาวันนี้ ให้ลูกความความรู้ การสปอยล์หนังถื […]
มาคดีลิขสิทธิ์ คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 5834/2550 ความผิดตาม […]
ยินดีกับ คุณมาย และคุณวงเดือนเช้าบ่ายเลยครับ ได้รับการเ […]
ฎีกาที่ 6820/2552ย่อสั้นการที่จำเลยเอาไปเสียซึ่งเอกสารบ […]
วันนี้ไต่สวน คดีลิขสิทธิ์ ฝ่ายจำเลย ดูแลเต็มที่ ศาลทรัพ […]
ขอบคุณคุณ รินทร์ลภัส ที่ไว้วางใจ คดีแพ่ง บัตรเครดิตที่ใ […]
ขอบคุณ คุณสุวรรณา ที่ไว้วางใจคดี แพ่งและอาญา วันนี้มาตร […]